ด้วยภาวะสถานการณ์โรคติดต่อ COVID-19 ในปัจจุบัน การฆ่าเชื้อจึงมีบทบาทในชีวิตของคนเรามากขึ้นอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ มาดูกันดีกว่าว่าน้ำยาฆ่าเชื้อโรคที่มีอยู่ในท้องตลาดปัจจุบัน ใช้สารฆ่าเชื้อ ประเภทไหนกันบ้าง แล้วเราจะเลือกอย่างไรให้เหมาะสมกับการใช้งาน
น้ำยาฆ่าเชือที่ใช้กันในปัจจุบัน ประกอบด้วยสารฆ่าเชื้อโรคที่แตกต่างกันดังนี้
น้ำยาฆ่าเชือที่ใช้กันในปัจจุบัน ประกอบด้วยสารฆ่าเชื้อโรคที่แตกต่างกันดังนี้
ALCOHOL*
ISOPROPIL ALCOHOL และ ETHYL ALCOHOL
ต้องใช้ความเข้มข้น 70% ขึ้นไปจึงสามารถฆ่าเชื้อได้ หาซื้อง่าย
ประสิทธิภาพ: ปานกลาง
ข้อจำกัด:ระเหยเร็วทำให้ประสิทธิภาพลดลงเมื่อใช้บนพื้นผิวที่ระเหยง่ายอาจทำให้ติดไฟ
CHLORINE*
จำพวกสารฟอกขาว
Sodium Hyperchloride
ประสิทธิภาพ: Intermediate
ข้อจำกัด:ระคายเคือง จึงต้องใช้ด้่วยความระมัดระวังอันตรายต่อสิ่งแวดล้อม และสิ่งมีชีวิต
QUAT / BKC
สารเคมีฆ่าเชื้อบนพื้นผิว เช่น สารกันบูดใช้ในพื้นที่ที่เป็น Non-Critical และควรใช้
ประสิทธิภาพ: ต่ำ
ข้อจำกัด:ประสิทธิภาพด้อยลงเมื่อเจอน้ำกระด้างย่อยสลายยาก เมื่อใช้ในปริมาณมาก จึงไม่ค่อยเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
ALDEHYDE
สารเคมีฆ่าเชื้อ ฟอร์มาลีน
ประสิทธิภาพ: แรงถึงปานกลาง
ข้อจำกัด:เป็นสารก่อมะเร็ง ควรใช้อย่างระมัดระวังไม่ให้เข้าร่างกายอันตรายต่อสิ่งแวดล้อม และเป็นพิษ
SILVERNANO
ประจุไอออนของซิลเวอร์ สามารถใช้ฆ่าเชื้อได้ในบริเวณจุดที่ไม่เสี่ยงมาก
ประสิทธิภาพ: ต่ำ
ข้อจำกัด:มีโลหะหนัก Silver เป็นสารตกค้างอาจเกิดการปนเปื้อน สะสมในสิ่งแวดล้อมแลในร่างกาย
HYDROGEN PEROXIDE
มักเป็นที่รู้จักในฐานะน้ำยาล้างแผลสามารถใช้ฆ่าเชื้อได้อย่างปลอดภัยและมีประสิทธิภาพ
ประสิทธิภาพ: แรงถึงปานกลาง
ข้อจำกัด:อาจทำให้ระคายเคืองเล็กน้อย เมื่อใช้ด้วยความเข้มข้นสูงประสิทธิภาพอาจไม่ค่อยเสถียร จึงต้องใช้ความเข้มข้นมาก
*สารที่ WHO แนะนำว่าใช้ในการฆ่าเชื้อ COVID-19 ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
HYDROGEN PEROXIDE ทั่วไป มีข้อจำกัดคือ ประสิทธิภาพการฆ่าเชื้อลดลงเมื่ออยู่ในน้ำ โดยเฉพาะน้ำกระด้าง และมีสารประกอบไม่เสถียร ประสิทธิภาพลดลงง่าย ทำให้เก็บรักษาได้ไม่นาน
HYDROGEN PEROXIDE สูตร BIO-ORGANIC เทคโนโลยีที่จดสิทธิบัตร ของ KEEEN ได้มีการวิจัยและพัฒนาให้มีประสิทธิภาพสูงขึ้น โดยเพิ่มสารข่วยลดแรงตึงผิวของน้ำ จึงทำให้ประสิทธิภาพการฆ่าเชื้อยังทำได้สูงแม้อยู่ในน้ำกระด้าง รวมถึงใช้สารประกอบที่มีความเสถียร จึงทำให้สามารถรักษาประสิทธิภาพไว้ได้นาน
ขั้นตอนการตรวจเลขผลิตภัณฑ์บนเครื่องหมาย อ.ย.
1. สังเกตตัวเลขที่อยู่ในเครื่องหมาย อ.ย. บนฉลากของผลิตภัณฑ์
2. นำเลขผลิตภัณฑ์ไปตรวจ บนเว็บไซต์ : http://pca.fda.moph.go.th/service.php
3. เลื่อนดูข้อมูลของผลิตภัณฑ์ที่ต้องการค้นหา
ข้อมูลสำคัญที่ต้องตรวจให้แน่ชัด
1. ดูที่ประเภทผลิตภัณฑ์สารที่มีประสิทธิภาพฆ่าเชื้อโรคได้ต้องจัดอยู่ในหมวด วอ.3
2. ดูที่ใบสำคัญ / เลขที่อนุญาตว่าตรงกับที่อยู่บนเครื่องหมาย อ.ย. หรือไม่
3. ดูที่ชื่อผลิตภัณฑ์ว่าตรงกับผลิตภัณฑ์ที่ต้องการตรวจเลขหรือไม่
ตรารับรองความปลอดภัย ที่สามารถสังเกตได้บนฉลากผลิตภัณฑ์
เครื่องหมาย อ.ย. จากสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา ซึ่งมีความเข้มงวดสูงในการรับรองผลิตภัณฑ์ในประเทศไทย
ECOCERT ตรารับรองผลิตภัณฑ์ หรือตรารับรองสารธรรมชาติออร์แกนิก ที่ออกโดยสถาบัน ECOCERT ประเทศฝรั่งเศส หนึ่งในผู้นำของตรารับรองมาตรฐานการใส่ใจธรรมชาติที่มีชื่อเสียงในระดับสากล
NSF ย่อมาจาก National Science Foundation : NSF คือมูลนิธิวิทยาศาสตร์แห่งชาติสหรัฐอเมริกา ให้การรับรองผลิตภัณฑ์ที่เกี่ยวข้องกับอาหาร ในกรณีน้ำยาฆ่าเชื้อที่เป็น Food Grade สัมผัสอาหารได้ ควรได้รับการรับรองจากองคืกรนี้
เครื่องหมาย Dermatologically Tested แสดงให้เห็นว่าผ่านการทดสอบด้านความระคายเคืองบนผิวหนัง
เครื่องหมาย Bio-Degradable รับรองการย่อยสลายได้ในธรรมชาติของผลิตภัณฑ์ เพื่อความเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม